Register Register Member Login Member Login Member Login Forgot Password ??
PHP , ASP , ASP.NET, VB.NET, C#, Java , jQuery , Android , iOS , Windows Phone
 

Registered : 109,037

HOME > บทความจากสมาชิก > PHPExcel กับ Reader การอ่านไฟล์ Excel (.xls,.xlsx) และการนำเข้าฐานข้อมูล MySQL



 
Clound SSD Virtual Server

PHPExcel กับ Reader การอ่านไฟล์ Excel (.xls,.xlsx) และการนำเข้าฐานข้อมูล MySQL

PHPExcel กับ Reader การอ่านไฟล์ Excel (.xls,.xlsx) และการนำเข้าฐานข้อมูล MySQL บทความและเทคนิคการใช้ Class ของ PHPExcel ในการอ่าน (reader) ไฟล์ Excel ที่อยู่ในรูปแบบนามสกุล .xls (Office 2003) และ .xlsx (Office 2007) โดยนำข้อมูลจาก Excel มาแสดงผลบนหน้าเว็บ หรือ นำเข้าสู่ฐานข้อมูล MySql สำหรับ Class ตัวนี้เป็น Open Source สามารถใช้งานได้ฟรี และยังสามารถรอบรับการทำงานได้ทั้งบน Windows Server และ Linux Server รูปแบบการใช้งานง่าย และ มี Demo ให้ศึกษาได้หลายตัว


Screenshot

PHPExcel Reader and Import to MySQL

ไฟล์ Excel

PHPExcel Reader and Import to MySQL

แสดงผลบนเว็บ

PHPExcel Reader and Import to MySQL

นำเข้าฐานข้อมูล MySQL

คุณสมบัติของ PHPExcel Library
- รองรับไฟล์ .xls (Office 2003) และ .xlsx (Office 2007)
- อ่านได้เร็วกกว่าการใช้ COM บน Windows
- รองรับหลาย Platform ทั้ง Windows และ Linux
- ใช้งานง่าย และที่สำคัญ มันฟรี ไม่มีหมดอายุ

Download PHPExcel Library



ตัวอย่างที่ 1 การอ่านไฟล์ Excel แล้วแสดงผลบนหน้าเว็บไซต์

PHPExcel Reader and Import to MySQL

ไฟล์ Excel ที่ต้องการอ่านด้วย PHPExcel

PHPExcelRead.php
<?php

/** PHPExcel */
require_once 'Classes/PHPExcel.php';

/** PHPExcel_IOFactory - Reader */
include 'Classes/PHPExcel/IOFactory.php';


$inputFileName = "myData.xls";  
$inputFileType = PHPExcel_IOFactory::identify($inputFileName);  
$objReader = PHPExcel_IOFactory::createReader($inputFileType);  
$objReader->setReadDataOnly(true);  
$objPHPExcel = $objReader->load($inputFileName);  

/*
// for No header
$objWorksheet = $objPHPExcel->setActiveSheetIndex(0);
$highestRow = $objWorksheet->getHighestRow();
$highestColumn = $objWorksheet->getHighestColumn();

$r = -1;
$namedDataArray = array();
for ($row = 1; $row <= $highestRow; ++$row) {
    $dataRow = $objWorksheet->rangeToArray('A'.$row.':'.$highestColumn.$row,null, true, true, true);
    if ((isset($dataRow[$row]['A'])) && ($dataRow[$row]['A'] > '')) {
        ++$r;
        $namedDataArray[$r] = $dataRow[$row];
    }
}
*/

$objWorksheet = $objPHPExcel->setActiveSheetIndex(0);
$highestRow = $objWorksheet->getHighestRow();
$highestColumn = $objWorksheet->getHighestColumn();

$headingsArray = $objWorksheet->rangeToArray('A1:'.$highestColumn.'1',null, true, true, true);
$headingsArray = $headingsArray[1];

$r = -1;
$namedDataArray = array();
for ($row = 2; $row <= $highestRow; ++$row) {
    $dataRow = $objWorksheet->rangeToArray('A'.$row.':'.$highestColumn.$row,null, true, true, true);
    if ((isset($dataRow[$row]['A'])) && ($dataRow[$row]['A'] > '')) {
        ++$r;
        foreach($headingsArray as $columnKey => $columnHeading) {
            $namedDataArray[$r][$columnHeading] = $dataRow[$row][$columnKey];
        }
    }
}

//echo '<pre>';
//var_dump($namedDataArray);
//echo '</pre><hr />';

?>
<table width="500" border="1">
  <tr>
    <td>CustomerID</td>
    <td>Name</td>
    <td>Email</td>
    <td>CountryCode</td>
    <td>Budget</td>
    <td>Used</td>
  </tr>
<?php
foreach ($namedDataArray as $result) {
?>
	  <tr>
		<td><?php echo $result["CustomerID"];?></td>
		<td><?php echo $result["Name"];?></td>
		<td><?php echo $result["Email"];?></td>
		<td><?php echo $result["CountryCode"];?></td>
		<td><?php echo $result["Budget"];?></td>
		<td><?php echo $result["Used"];?></td>
	  </tr>
<?php
}
?>
</table>


ในตัวอย่าง จะเป็นการอ่าน Excel เข้ามาอยู่ในรูปแบบของ Array








โดยถูกจัดเก็บไว้ที่ $namedDataArray เมื่อใช้ var_dump($namedDataArray); จะได้ค่า Array เป็นดังนี้

array(4) {
  [0]=>
  array(6) {
    ["CustomerID"]=>
    string(4) "C001"
    ["Name"]=>
    string(13) "Win Weerachai"
    ["Email"]=>
    string(28) "[email protected]"
    ["CountryCode"]=>
    string(2) "TH"
    ["Budget"]=>
    float(1000000)
    ["Used"]=>
    float(600000)
  }
  [1]=>
  array(6) {
    ["CustomerID"]=>
    string(4) "C002"
    ["Name"]=>
    string(11) "John  Smith"
    ["Email"]=>
    string(25) "[email protected]"
    ["CountryCode"]=>
    string(2) "EN"
    ["Budget"]=>
    float(2000000)
    ["Used"]=>
    float(800000)
  }
  [2]=>
  array(6) {
    ["CustomerID"]=>
    string(4) "C003"
    ["Name"]=>
    string(9) "Jame Born"
    ["Email"]=>
    string(24) "[email protected]"
    ["CountryCode"]=>
    string(2) "US"
    ["Budget"]=>
    float(3000000)
    ["Used"]=>
    float(600000)
  }
  [3]=>
  array(6) {
    ["CustomerID"]=>
    string(4) "C004"
    ["Name"]=>
    string(12) "Chalee Angel"
    ["Email"]=>
    string(27) "[email protected]"
    ["CountryCode"]=>
    string(2) "US"
    ["Budget"]=>
    float(4000000)
    ["Used"]=>
    float(100000)
  }
}


จะเห็นว่าจะมีการนำแถวแรกของ Excel มาเป็น Key ของ Array แต่ถ้าไม่ต้องการอ้างอิง header ในการสร้าง Key สามารถใช้ในส่วนที่ได้ remark ไว้ว่า // for No header

Screenshot

PHPExcel Reader and Import to MySQL

ผลลลัพธ์ที่ได้เมื่อทำการทำการแทรก HTML ในสาวนของ table เพื่อแสดงข้อมูลออกมารูปแบบของตาราง





ตัวอย่างที่ 2 การอ่านไฟล์ Excel แล้วทำการ Import หรือ Insert ลงในฐานข้อมูล MySQL

ก่อนอื่นให้สร้างตารางชื่อว่า customer ใน phpMyAdmin โดยนำ SQL นี้ไป Query

CREATE TABLE `customer` (
  `CustomerID` varchar(4) NOT NULL,
  `Name` varchar(50) NOT NULL,
  `Email` varchar(50) NOT NULL,
  `CountryCode` varchar(2) NOT NULL,
  `Budget` double NOT NULL,
  `Used` double NOT NULL,
  PRIMARY KEY  (`CustomerID`)
) ENGINE=MyISAM DEFAULT CHARSET=utf8;


จะได้ฐานตารางชื่อว่า customer


PHPExcelReadToMySQL.php
<?php

/** PHPExcel */
require_once 'Classes/PHPExcel.php';

/** PHPExcel_IOFactory - Reader */
include 'Classes/PHPExcel/IOFactory.php';


$inputFileName = "myData.xls";  
$inputFileType = PHPExcel_IOFactory::identify($inputFileName);  
$objReader = PHPExcel_IOFactory::createReader($inputFileType);  
$objReader->setReadDataOnly(true);  
$objPHPExcel = $objReader->load($inputFileName);  

$objWorksheet = $objPHPExcel->setActiveSheetIndex(0);
$highestRow = $objWorksheet->getHighestRow();
$highestColumn = $objWorksheet->getHighestColumn();

$headingsArray = $objWorksheet->rangeToArray('A1:'.$highestColumn.'1',null, true, true, true);
$headingsArray = $headingsArray[1];

$r = -1;
$namedDataArray = array();
for ($row = 2; $row <= $highestRow; ++$row) {
    $dataRow = $objWorksheet->rangeToArray('A'.$row.':'.$highestColumn.$row,null, true, true, true);
    if ((isset($dataRow[$row]['A'])) && ($dataRow[$row]['A'] > '')) {
        ++$r;
        foreach($headingsArray as $columnKey => $columnHeading) {
            $namedDataArray[$r][$columnHeading] = $dataRow[$row][$columnKey];
        }
    }
}

//echo '<pre>';
//var_dump($namedDataArray);
//echo '</pre><hr />';

//*** Connect to MySQL Database ***//
$objConnect = mysql_connect("localhost","root","root") or die(mysql_error());
$objDB = mysql_select_db("mydatabase");
$i = 0;
foreach ($namedDataArray as $result) {
		$i++;
		$strSQL = "";
		$strSQL .= "INSERT INTO customer ";
		$strSQL .= "(CustomerID,Name,Email,CountryCode,Budget,Used) ";
		$strSQL .= "VALUES ";
		$strSQL .= "('".$result["CustomerID"]."','".$result["Name"]."' ";
		$strSQL .= ",'".$result["Email"]."','".$result["CountryCode"]."' ";
		$strSQL .= ",'".$result["Budget"]."','".$result["Used"]."') ";
		mysql_query($strSQL) or die(mysql_error());
		echo "Row $i Inserted...<br>";
}
mysql_close($objConnect);
?>


Screenshot

PHPExcel Reader and Import to MySQL

ทดสอนรันโปรแกรมแสดงจำนวน Rows ที่ได้ Insert

PHPExcel Reader and Import to MySQL

เมื่อเปิดด้วย phpMyAdmin ก็จะพบกับข้อมูลที่ได้ Insert หรือ Import เข้าไป

สรุป
สรุปการใช้คลาสของ PHPExcel ซึ่งเป็น Library ที่ดีที่สุดที่นิยมใช้ในขณะนี้ จะสามารถช่วยในเรื่องเกี่ยวกับการจัดการเอกสาร Excel ได้เป็นอย่างดี สำหรับ Code ตัวอย่างสามรถดาวนืโหลดได้จากข่างล้างของบทความ

ผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยครับ


Download Code !!








บทความอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
Go to : สร้าง Excel (xls,xlsx) ไฟล์ด้วย PHPExcel และการส่งออก Export จากฐานข้อมูล MySQL Database


   
Share
Bookmark.   

  By : TC Admin
  Article : บทความเป็นการเขียนโดยสมาชิก หากมีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ กรุณาแจ้งให้ทาง webmaster ทราบด้วยครับ
  Score Rating :
  Create Date : 2012-05-10
  Download : No files
Sponsored Links
ThaiCreate.Com Forum


Comunity Forum Free Web Script
Jobs Freelance Free Uploads
Free Web Hosting Free Tools

สอน PHP ผ่าน Youtube ฟรี
สอน Android การเขียนโปรแกรม Android
สอน Windows Phone การเขียนโปรแกรม Windows Phone 7 และ 8
สอน iOS การเขียนโปรแกรม iPhone, iPad
สอน Java การเขียนโปรแกรม ภาษา Java
สอน Java GUI การเขียนโปรแกรม ภาษา Java GUI
สอน JSP การเขียนโปรแกรม ภาษา Java
สอน jQuery การเขียนโปรแกรม ภาษา jQuery
สอน .Net การเขียนโปรแกรม ภาษา .Net
Free Tutorial
สอน Google Maps Api
สอน Windows Service
สอน Entity Framework
สอน Android
สอน Java เขียน Java
Java GUI Swing
สอน JSP (Web App)
iOS (iPhone,iPad)
Windows Phone
Windows Azure
Windows Store
Laravel Framework
Yii PHP Framework
สอน jQuery
สอน jQuery กับ Ajax
สอน PHP OOP (Vdo)
Ajax Tutorials
SQL Tutorials
สอน SQL (Part 2)
JavaScript Tutorial
Javascript Tips
VBScript Tutorial
VBScript Validation
Microsoft Access
MySQL Tutorials
-- Stored Procedure
MariaDB Database
SQL Server Tutorial
SQL Server 2005
SQL Server 2008
SQL Server 2012
-- Stored Procedure
Oracle Database
-- Stored Procedure
SVN (Subversion)
แนวทางการทำ SEO
ปรับแต่งเว็บให้โหลดเร็ว


Hit Link
   







Load balance : Server 01
ThaiCreate.Com Logo
© www.ThaiCreate.Com. 2003-2024 All Rights Reserved.
ไทยครีเอทบริการ จัดทำดูแลแก้ไข Web Application ทุกรูปแบบ (PHP, .Net Application, VB.Net, C#)
[Conditions Privacy Statement] ติดต่อโฆษณา 081-987-6107 อัตราราคา คลิกที่นี่