|
|
|
ปรึกษาการออกแบบและเขียนโค๊ด เกี่ยวกับการนำสินค้าที่เข้ามาก่อนจำหน่ายไปก่อน และกรณีคืนสินค้าครับ |
|
|
|
|
|
|
|
ลองทำตามที่คิดไว้ก่อน แล้วติดปัญหาตรงไหนค่อยมาโพสถามน่าจะดีกว่านะครับ
|
|
|
|
|
Date :
2013-02-18 15:56:41 |
By :
popnakub |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อยากบอกมีกระทู้เก่า ๆ บทความเก่า ๆ ในเรื่องสินค้า Stock มากมาย..หาดีดีมีแจกระบบนี้อยู่
มีเยอะมาก ลอง Search ดูเยอะแยะมากมาย
จากนั้นหยิบสักอันมาศึกษา
|
|
|
|
|
Date :
2013-02-18 16:05:00 |
By :
apisitp |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เป็นเรื่องที่น่าสนใจครับ
[เรื่อง Queue ซึ่งทำงานในลักษณะ FIFO ]
ลองจินตนาการนะครับ มองเซเว่นเป็นตัวอย่างก็ได้
ผมจะยกตัวอย่างแค่สินค้า 1 รายการนะครับ รายการไหนก็ได้ ที่มันหมดอายุเร็วๆหน่อย
ในทางทฤษฎี
ต้องขายข้าวกล่องที่ใกล้หมดอายุออกก่อน โดยใช้การจัดวางเรียงลำดับ ด้วย "พนักงาน" ครับ
ตัวโปรแกรม POS ที่แคชเชียร์ใช้นั้น ไม่สามารถบอกได้ว่ากล่องไหนหมดอายุหรือยังไม่หมดอายุ พูดง่ายๆ ว่า "ไม่สามารถตรวจสอบ queue ได้"
error เป็นไปได้ แค่ 2 ทาง ครับ
1. พนักงานเรียงลำดับสินค้าผิด ไม่ได้เรียงลักษณะ FIFO
2. ลูกค้าหัวหมอ เลือกหยิบสินค้าในลักษณะ LIFO ของสินค้าที่มี ณ ขณะนั้น
แถมอีกอัน
3. พนักงานเรียงก็ผิด ลูกค้าก็มั่วดันไปหยิบเข้าข่าย LIFO ซึ่งไม่ขอกล่าวถึง
จะเห็นว่า ฐานข้อมูล ไม่สามารถระบุได้ถึงสินค้า รายชิ้นที่เป็น FIFO ครับ
พูดง่ายๆ คงไม่มีใครออกแบบฐานข้อมูล ให้เก็บสินค้า รายชิ้น นั่นเอง จะมีก็แต่เช็ค สินค้าล็อตก่อนล็อตหลัง แค่นั้นครับ ซึ่งเป็น FIFO ของสินค้ากลุ่มใหญ่
สำหรับคนที่ออกแบบให้รองรับ FIFO ระดับชิ้น ผมจึงเชื่อว่าไม่มีใครทำครับ (หากมีคนในนี้เคยทำ ก็ขออภัยครับ)
FIFO รายชิ้นที่แท้จริง จะถูกกำหนด หรือจัดการ ด้วยบุคลากรอีกต่อหนึ่งเสมอครับ เค้าถึงมีการจ้าง ผู้จัดการร้าน หรืออะไรก็ว่าไป
และส่วนใหญ่แล้ว บุคลากรเหล่านี้ จะมองในสเกลใหญ่ๆ ครับ คือ ล็อตมาก่อนก็ควรขายให้หมดก่อน ล็อตมาหลัง รอขายต่อไป และจะไม่สั่งสินค้ามาคาบเวลากันเกินไปครับ
|
|
|
|
|
Date :
2013-02-18 16:13:09 |
By :
triplea |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ขอบคุณครับ
|
|
|
|
|
Date :
2013-02-19 23:13:07 |
By :
nook563 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Load balance : Server 03
|