ผลลัพทธ์จากฟังก์ชันนี้ จะได้ element ออกมาเป็น array
ซึ่งต่างกับ getElementById ที่ได้ element มาแค่ตัวเดียว
ดังนั้น ในกรณีนี้ มี element แต่ละชื่อแค่อันเดียว เวลาเรียกใช้ต้องใส่ index ด้วยนะครับ
Code (JavaScript)
var aArr= new Array();
aArr[0]='a';
aArr[1]='b';
aArr[2]='c';
var i=0;
for(i=0;i<=2;i++)
{
var elements = document.getElementsByName(aArr[i]);
elements.[0].value = '';
}
อ้อ เคครับ งั้นล่าสุด มีแต่ name ไม่มี id เนาะครับ
Code (JavaScript)
var aArr= new Array();
aArr[0]='a';
aArr[1]='b';
aArr[2]='c';
var i=0;
for(i=0;i<=2;i++)
{
var img = document.getElementsByName(aArr[i]); // สังเกตว่า เป็น getElements คือมี s หลัง Element นั่นหมายความว่ามันจะให้ผลลัพธ์ออกมาเป็น array ครับ
img[0].src = 'images/yahoomail.png'; // ตรงนี้แหละครับ ที่บอกให้ใส่ index ด้วย ซึ่ง index คือ 0
}
var element = document.getElementsByName('myName');
element[0].value = 'sample value';
3. getElementsByTagName()
Code (JavaScript)
var element = document.getElementsByTagName('input');
element[0].value = 'sample value';
4. getElementsByClassName()
Code (JavaScript)
var element = document.getElementsByClassName('myClass');
element[0].value = 'sample value';
ทั้งนี้เราต้องมั่นใจนะครับ ว่าในหน้านั้น ไม่มี element ที่เข้าเงื่อนไขตัวอื่นอยู่จริง
ไม่เช่นนั้น element[0] อาจจะไม่ใช่ element ที่เราอยากได้ก็ได้ครับ
ทางที่ดี และเจาะจงที่สุด คือการกำหนด id ให้กับ element นั้นๆ แล้วเรียกใช้งานผ่าน getElementById() ครับ