Register Register Member Login Member Login Member Login Forgot Password ??
PHP , ASP , ASP.NET, VB.NET, C#, Java , jQuery , Android , iOS , Windows Phone
 

Registered : 109,037

HOME > PHP > PHP Forum > รบกวนสอบถามผู้รู้เกี่ยวกับการคิดค่าเสื่อมครุภัณฑ์แบบเส้นตรงค่ะ ต้องเขียนโค้ดยังไงค่า



 

รบกวนสอบถามผู้รู้เกี่ยวกับการคิดค่าเสื่อมครุภัณฑ์แบบเส้นตรงค่ะ ต้องเขียนโค้ดยังไงค่า

 



Topic : 107789



โพสกระทู้ ( 26 )
บทความ ( 0 )



สถานะออฟไลน์




รบกวนสอบถามผู้รู้เกี่ยวกับการคิดค่าเสื่อมครุภัณฑ์แบบเส้นตรงค่ะ ต้องเขียนโค้ดยังไงค่า รบกวนขอแนวทางด้วยค่ะ

Code (PHP)
<?
SELECT  `dp_perunit` /  `dp_expirde` AS  `dp_deprecfy` 
FROM  `tb_deprecprocess` WHERE id = id
LIMIT 0 , 30 
?>


เขียนโค้ดแล้วไม่ได้ค่ะรบกวนผู้รู้ด้วยค่ะ

รูปเมื่อคลิกแล้วได้ดังรูป
เมื่อเลือก


ได้รายงานแบบคิดค่าเสื่อมทั้งหมดระบุหมายเลข
ระบุเลขครุภัณฑ์


ได้รายงานแบบคิดค่าเสื่อมทั้งหมด
ระบุปีทั้งหมด


ฐานข้อมูล
process

report



Tag : PHP, MySQL, Ajax, jQuery







Move To Hilight (Stock) 
Send To Friend.Bookmark.
Date : 2014-04-22 00:16:32 By : nungna11 View : 6489 Reply : 26
 

 

No. 1



โพสกระทู้ ( 74,058 )
บทความ ( 838 )

สมาชิกที่ใส่เสื้อไทยครีเอท

สถานะออฟไลน์
Twitter Facebook

สรุปศูตร มาให้คร่าว ๆ ครับ เดียวจะช่วยเขียน Code ให้






แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-22 09:34:00 By : mr.win
 


 

No. 2



โพสกระทู้ ( 26 )
บทความ ( 0 )



สถานะออฟไลน์


การคำนวณค่าเสื่อมน่ะค่ะ

=>กรณีที่ 1 ค่าเสื่อมกรณีคิด 1 ปี = ราคา/อายุการใช้งาน
เช่นจากรูปด้านบน ค่าเสื่อมปี 2550 => 42,000/8 = 5,250

=>กรณีที่ 2 ค่าเสื่อมกรณีคิดไม่ถึง 1 ปี = (ราคา/อายุการใช้งาน)*(วัน/366)
เช่นจากรูปด้านบน ค่าเสื่อมปี 2549 => (42,000/8) * (248/366) = 3,557
สงสัยด้วยว่าถ้าคิดไม่ถึงปีต้องนับจากรับครุภัณฑ์มาจนถึงปี งบประมาณต้องทำไงค่ะ ฐานข้อมูลต้องเพิ่มมั๊ยค่ะ
เช่น คิดปี 2549 แต่วันรับไม่ถึงปี รับ 10 กพ. 49 ต้องคิดคำนวณ 30 กย. 49 ซึ่งไม่ถึงปี ต้องเก็บค่ายังไงค่ะ

ปณ. การคิดคำนวณนั้นจะคิด 1 ตค.ของปี- 30 กย.ของปี เช่น 1 ต.ค. 2549 - 30 ก.ย. 2550 ค่ะ
รบกวนด้วยน่ะค่ะ ขอบคุณมากค่ะ +_+
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-23 17:47:30 By : nungna11
 

 

No. 3

Guest


1. ลองทำความเข้าใจกับ Link ข้างล่างนี้ก่อนครับ
ถ้าคุณเข้าใจก็ข้ามไปข้อที่ 2. ได้เลยครับ
http://www.esg.co.th/esg/index.php?fi=no&page=articles&lev=2&ct=114&lang=en
http://www.youtube.com/watch?v=dvfCBSanabs
http://www.youtube.com/watch?v=vKa5wGPAi9U

2. หลังจากที่คุณเข้าใจ (ในระดับหนึ่งแล้ว) จะเขียนโปรแกรมหรือว่าจะเขียน Query มันก็ไม่ใช่เรื่องยาก
----- 2.1 ผมมีคำถามสั้นฯ : จะเขียน Query หารากที่ 8 ของ 42,000.00 ได้อย่างไร? (คำตอบคือ 3.78)
----- 2.1 ?



[x] คิดเสียว่า โปรแกรมเมอร์คุยกับโปรแกรมเมอร์ (วิธีการมีร้อยแปดพันเก้า)
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-24 14:22:22 By : love9713
 


 

No. 4



โพสกระทู้ ( 1,569 )
บทความ ( 2 )



สถานะออฟไลน์
Twitter Facebook Blogger

ตอบความคิดเห็นที่ : 3 เขียนโดย : love9713 เมื่อวันที่ 2014-04-24 14:22:22
รายละเอียดของการตอบ ::
ขอตอบข้อ 2.1 ครับ
จากเรื่อง exponential มีทฤษฎีกล่าวว่า
(X^m)^n = X^(m*n)
ผมเขียนรากที่ 8 ของ 42,000.00 เป็น 42000.00^(1/8) จะได้ว่า
SELECT SQRT( SQRT( SQRT( 42000.00 ) ) )


แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-24 20:21:00 By : itpcc
 


 

No. 5

Guest


ตอบความคิดเห็นที่ : 4 เขียนโดย : itpcc เมื่อวันที่ 2014-04-24 20:21:00
รายละเอียดของการตอบ ::


Code (MySQL)
SELECT POWER(42000.00, 1/8);


Code (MSSQL)
SELECT POWER(42000.0E, 1.0E/8)

แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-26 06:47:57 By : love9713
 


 

No. 6

Guest


ตอบความคิดเห็นที่ : 4 เขียนโดย : itpcc เมื่อวันที่ 2014-04-24 20:21:00
รายละเอียดของการตอบ ::


ตราบใดที่ยังเดินทางอยู่ในสายนี้ เราต้องเข้าใจ(จริงฯ)กับมันครับ (หลีกหนีไม่พ้น)
ค่าเสื่อมราคาวิธีเส้นตรง(depreciation) มีทั้งหมด 4 ตอน (1/4, 2/4, 3/4, 4/4)
http://www.youtube.com/watch?v=jZOCYbhDYPE

ท่านอธิบายได้ดีมาก (สอนอยู่ ม.สุโขทัยธรรมมาธิราช)

อันนี้เป็นของฝรั่งเขา
ค่าเสื่อมราคาวิธีเส้นตรง = Straight-line Method (depreciation)
http://en.wikipedia.org/wiki/Depreciation


[x] มันมีประโยชน์สำหรับคุณครับ
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-26 07:00:31 By : love9713
 


 

No. 7

Guest


ตอบความคิดเห็นที่ : 4 เขียนโดย : itpcc เมื่อวันที่ 2014-04-24 20:21:00
รายละเอียดของการตอบ ::


ผมพึ่งนึกออกครับ
สังเกตุไหมว่าโปรแกรม Excel มีฟังก์ชั่นมากมายให้เราเลือกใช้งาน อทิเช่น
Financial Function
--- PV()
--- NPV()
--- NB()
--- VDB()
--- SLN() ค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรง
--- more...

ลองไปดาวโหลด http://ilspy.net/ เอามาเปิดไฟล์ Microsoft VisualBasic.dll เพื่อดู Sourcecode ของมัน
(ไมโครซอฟท์คิดมันน่าจะผิดน้อยกว่าที่เราคิดเอง ผมเชื่อเช่นนี้)
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-26 07:57:31 By : love9713
 


 

No. 8



โพสกระทู้ ( 26 )
บทความ ( 0 )



สถานะออฟไลน์


ขอบคุณมากค่ะสำหรับคำแนะนำ
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-26 12:52:34 By : nungna11
 


 

No. 9

Guest


ตอบความคิดเห็นที่ : 2 เขียนโดย : nungna11 เมื่อวันที่ 2014-04-23 17:47:30
รายละเอียดของการตอบ ::
การคำนวณค่าเสื่อมน่ะค่ะ

=>กรณีที่ 1 ค่าเสื่อมกรณีคิด 1 ปี = ราคา/อายุการใช้งาน
เช่นจากรูปด้านบน ค่าเสื่อมปี 2550 => 42,000/8 = 5,250

=>กรณีที่ 2 ค่าเสื่อมกรณีคิดไม่ถึง 1 ปี = (ราคา/อายุการใช้งาน)*(วัน/366)
เช่นจากรูปด้านบน ค่าเสื่อมปี 2549 => (42,000/8) * (248/366) = 3,557
สงสัยด้วยว่าถ้าคิดไม่ถึงปีต้องนับจากรับครุภัณฑ์มาจนถึงปี งบประมาณต้องทำไงค่ะ ฐานข้อมูลต้องเพิ่มมั๊ยค่ะ
เช่น คิดปี 2549 แต่วันรับไม่ถึงปี รับ 10 กพ. 49 ต้องคิดคำนวณ 30 กย. 49 ซึ่งไม่ถึงปี ต้องเก็บค่ายังไงค่ะ

ปณ. การคิดคำนวณนั้นจะคิด 1 ตค.ของปี- 30 กย.ของปี เช่น 1 ต.ค. 2549 - 30 ก.ย. 2550 ค่ะ
รบกวนด้วยน่ะค่ะ ขอบคุณมากค่ะ +_+


ข้อสังเกตุ (yyyy-MM-dd)
1. โดยทั่วฯไป วันเริ่มต้นของปีและวันสุดท้ายของปีจะเป็นดังนี้ xxxx-01-01 - xxxx-12-31
----- ในกรณีของคุณ เริ่มต้นเดือน-ปลายเดือนคือ xxxx-10-01 , xxxx-10-31 ปลายปีคือ xxxx-09-30
----- การบันทึกรายการทางบัญชี ดู #NO 6
----- Dr ค่าเสื่อมราคา-ชื่อสินค้า
----- Cr ค่าเสื่อมราคาสะสม-ชื่อสินค้า
2. ในความเป็นจริง วันที่ซื้อ/ได้ทรัพย์สินนั้นมา จะเป็นวันไหนก็ได้ (วันที่ 1 - วันที่ 31)
----- ผมสรุปได้ดังนี้ครับ
-------- 2.1 ครบปี (วันที่ซื้อ/ได้มา xxxx-10-01)
-------- 2.2 ครบเดือน (วันที่ซื้อ/ได้มา xxxx-xx-01)
-------- 2.3 ไม่ครบเดือน (วันที่ซื้อ/ได้มา ไม่ใช่วันที่หนึ่ง (เป็นวันไหนก็ได้ในช่วง 2 - 31))
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-28 05:50:07 By : love9713
 


 

No. 10

Guest


อ.มานพกล่าวเอาไว้ว่าในเมืองไทย ร้อยละ 99.99 นิยมคิดค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรง (SLM)
ในกรณี ครบปี ยกตัวอย่างได้ดังนี้



สมมุติโจทย์ตัวอย่าง วันที่ 2010-10-01 ซื้อนาฬิกา ดิลโด้ มา 1 เรือน ราคา 4,2000 บาท และมีอายุการใช้งาน 8 ปี มูลค่าซากเท่ากับ 0 บาท

คำนวณแบบครบปี

Code (SQL)
DECLARE @yourAssets TABLE (ID INT, de_perunit MONEY, dp_expired INT)

INSERT INTO @yourAssets 
SELECT 1, 42000, 8


;WITH cte (AssetID, [Years], dp_expired
    ,de_deprecfy, dp_nettotal, deprecacc
    ) AS (
    SELECT ID, 0, dp_expired
           ,ROUND(de_perunit/dp_expired, 2)
           ,de_perunit, CAST(0 AS MONEY)
    FROM @yourAssets 
    UNION ALL
    SELECT AssetID, [Years]+1, dp_expired
        ,CASE [Years]+1 WHEN dp_expired THEN dp_nettotal ELSE de_deprecfy END
        ,CASE [Years]+1 WHEN dp_expired THEN CAST(0 AS MONEY) ELSE dp_nettotal - de_deprecfy END
        ,CASE [Years]+1 WHEN dp_expired THEN deprecacc + dp_nettotal ELSE deprecacc + de_deprecfy END
    FROM cte WHERE [Years] < dp_expired)
    
SELECT AssetID, [Years]+ 2009, de_deprecfy, dp_nettotal, deprecacc                  
FROM cte
ORDER BY AssetID, [Years]

แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-28 06:28:20 By : love9713
 


 

No. 11

Guest


#NO 10 Output Sample
ass_001
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-28 06:30:51 By : love9713
 


 

No. 12

Guest


ข้อสังเกตุ คำว่า ไม่ครบปี/ไม่ครบเดือน
เราจะคำนวณเฉพาะ ปีแรก/เดือนแรก หรือ ปีสุดท้าย/เดือนสุดท้าย เท่านั้นครับ นอกเหนือจากนี้ ก็คำนวณแบบปกติ เต็มปี/เต็มเดือน

สิ่งที่ควรจะรู้ สมมุติว่าวันปัจจุบันคือ
Code (MSSQL)
DECLARE @Todays DATETIME = '2010-10-01' -- วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553


1. วิธีหาวันแรกของเดือน
Code (MSSQL)
SELECT DATEADD(MM, DATEDIFF(MM,  0, @Todays), 0)  AS [FirstDayOfMonth] -- 2010-10-01


2. วิธีหาวันสุดท้ายของเดือน
Code (SQL)
SELECT DATEADD(MM, DATEDIFF(MM, -1, @Todays), 0) - 1  AS [LastDayOfMonth] -- 2010-10-31


3. นับวันแบบนับต้นไม่นับปลาย จากวันที่ของเดือน - วันสุดท้ายของเดือนนั้นฯ ตัวอย่างเช่น
จากวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2553 - วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2553 มีกี่วัน (คำตอบคือ 26 วัน)
Code (MSSQL)
SELECT DATEDIFF(Day, DATEADD(d, 5, @Todays), DATEADD(MONTH, DATEDIFF(MONTH, -1, @Todays), -1)) + 1 -- 26 วัน



คำนวณในกรณีไม่เต็มเดือนไม่เต็มปี
...
...
...

Good Luck.
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-28 08:54:29 By : love9713
 


 

No. 13

Guest


จาก #NO 12 คำนวณในกรณีไม่เต็มเดือนไม่เต็มปี
ก่อนจะไปถึงจุดนั้้น
ผมจะเล่าเรื่องสนุกสนุกให้คุณฟัง เพื่อให้คุณเข้าใจ (ไม่ได้มีเจตนาที่จะลบหลู่อันใดก็ตามครับ)
(คุณต้องเข้าใจสิ่งเหล่านี้ เพื่อประโยชน์ของตัวคุณเองครับ)

เขาเล่ากันมาว่า "ดาราสาวสาวสวยสวยทั้งหลายแหล่ ที่เสียชีวิตก่อนวัยอันควยด้วยสาเหตุใดก็ตาม"
ผู้มีอำนาจแต่ไร้ปัญญา(นิติศาสตร์/รัฐศาสตร์/ลามกศาสตร์ เคยตัดสินไร้มาตราฐานเอาไว้ว่า
"จะให้ขึ้นไปสรวงสวรรค์ก็ไม่สมควร"

"จะให้ไปลงนรกก็ยิ่งไม่เหมาะสม ชาวกรวยคงไม่พอใจเป็นแน่แท้"


ส่งไปอยู่บนดาวพลูโตก็แล้วกันนะสาวสาว นี่คือที่มาและที่ไป พยายามลองทำความเข้าใจดูครับ
(Copy Code ด้านล่างนี้ไปรันบน SSMS)

ปัจจุบันผมอาศัยอยู่บนดาวพลูโต


Code (MSSQL)
DECLARE @TableResult TABLE (ListDate DATE, Kanok_Price MONEY)
DECLARE @ToDays DATETIME = '2010-10-01'
DECLARE @FirstDateOfMonth DATETIME = DATEADD(MONTH, DATEDIFF(MONTH, 0, @ToDays), 0)
DECLARE @LastDateOfMonth DATETIME = DATEADD(MONTH, DATEDIFF(MONTH, -1, @ToDays), -1)

WHILE @FirstDateOfMonth <= @LastDateOfMonth
BEGIN
	INSERT INTO @TableResult VALUES (@FirstDateOfMonth, 2500 + 1000)
	SET @FirstDateOfMonth = @FirstDateOfMonth + 1
END

SELECT *
FROM @TableResult

แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-28 09:19:01 By : love9713
 


 

No. 14

Guest


อันนี้ไม่เกี่ยวข้องกับกระทู้ แต่เป็นความรู้สึกกังวลของผมเอง


ฟุมิโกะ คาเนะโกะ (1903 – 1926) กล่าวเอาไว้ว่า
"แม้แขนขาไม่มีอิสระ หากมีเจตจำนงว่าจะตาย"
"ความตายของฉันมีเสรีภาพ"


เมืองไทยของเรา ได้เดินทางมาถึงจุดนั้นแล้ว (เรามาถึงจุดนี้ได้อย่างไร?)
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-28 09:33:29 By : love9713
 


 

No. 15

Guest


จาก #NO No. 12 ผมเสียดายที่ผมตอบผิดโดยตั้งใจ/ไม่ตั้งใจ คำตอบคือ 26 วัน
และไม่มีคนนับให้ผม มันต้องได้ 27 วัน (ความถูกต้องตามหลักบัญชี)
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-04-28 18:34:22 By : love9713
 


 

No. 16

Guest


ในกรณีไม่ครบปีหลักการของคุณใช้เต็มเดือนและวันเฉลี่ย (31 วัน) ยกตัวอย่างเช่น
248 วันมาจาก 2006/09/30 - 2006/02/10 = 8 เดือน แปลงเป็นวันได้ = 8 เดือน x 31 วัน = 248 วัน
แล้วเข้าสูตรคำนวนตามปกติ (แบบนี้ง่ายง่าย)

คำนวนค่าเสื่อมไม่ครบปี (คำนวนเป็นวันตามจริง)
SQL Query ด้านล่างนี้ใช้หลักการเดียวกับโปรแกรม Express
Book Value (มูลค่าทางบัญชี) และ Cummulative Depreciation (ค่าเสื่อมสะสม) ดู #NO 10, 11
(มันต่างกันแค่คำนวนครบปีและไม่ครบปีเท่านั้นเองครับ)

ผมไม่หวังว่าคุณจะเข้าใจ แต่ถ้าคุณพยายามมากพอจนคุณเข้าใจ มันก็เป็นประโยชน์สำหรับตัวคุณเอง ครับ

ass_02
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-02 13:53:35 By : love9713
 


 

No. 17

Guest


จาก #NO 7 อยากรู้ว่า NameSpace Microsoft.VisualBasic.Financial (Function Excel) มันเขียนอย่างไร?
ไม่รู้ว่าใครลอกเลียนใคร ระหว่าง MS และ Novell



Code (VB.NET)
' Financial.vb
'
' Author:
'   Mizrahi Rafael ([email protected])
'   Boris Kirzner ([email protected])
'
'
' Copyright (C) 2002-2006 Mainsoft Corporation.
' Copyright (C) 2004-2006 Novell, Inc (http://www.novell.com)
'
' Permission is hereby granted, free of charge, to any person obtaining
' a copy of this software and associated documentation files (the
' "Software"), to deal in the Software without restriction, including
' without limitation the rights to use, copy, modify, merge, publish,
' distribute, sublicense, and/or sell copies of the Software, and to
' permit persons to whom the Software is furnished to do so, subject to
' the following conditions:
' 
' The above copyright notice and this permission notice shall be
' included in all copies or substantial portions of the Software.
' 
' THE SOFTWARE IS PROVIDED "AS IS", WITHOUT WARRANTY OF ANY KIND,
' EXPRESS OR IMPLIED, INCLUDING BUT NOT LIMITED TO THE WARRANTIES OF
' MERCHANTABILITY, FITNESS FOR A PARTICULAR PURPOSE AND
' NONINFRINGEMENT. IN NO EVENT SHALL THE AUTHORS OR COPYRIGHT HOLDERS BE
' LIABLE FOR ANY CLAIM, DAMAGES OR OTHER LIABILITY, WHETHER IN AN ACTION
' OF CONTRACT, TORT OR OTHERWISE, ARISING FROM, OUT OF OR IN CONNECTION
' WITH THE SOFTWARE OR THE USE OR OTHER DEALINGS IN THE SOFTWARE.
'
Imports Microsoft.VisualBasic.CompilerServices
Imports System

Namespace Microsoft.VisualBasic
    <StandardModule()> _
    Public NotInheritable Class Financial

        Public Shared Function DDB(ByVal Cost As Double, ByVal Salvage As Double, _
                                    ByVal Life As Double, ByVal Period As Double, _
                                    Optional ByVal Factor As Double = 2.0) As Double
            If Period > Life Or Factor <= 0 Or Salvage < 0 Or Life < 0 Or Period <= 0 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'Factor' is not a valid value.")
            End If

            ' LAMESPEC: MSDN claims the exception should be thrown in this case
            'If Cost < 0 Then
            'Throw New ArgumentException("Argument 'Factor' is not a valid value.")
            'End If

            ' Below we use power of (Period - 1).
            ' Tested Period < 1 and it behaves like Period = 1
            If Period < 1 Then
                Period = 1
            End If

            Dim Rate As Double = Factor / Life
            Dim PreviousValue As Double = Cost * (1 - Rate) ^ (Period - 1)
            PreviousValue = Math.Max(PreviousValue, Salvage)
            Dim CurrentValue As Double = Cost * (1 - Rate) ^ Period
            CurrentValue = Math.Max(CurrentValue, Salvage)
            Return PreviousValue - CurrentValue

        End Function

        Public Shared Function SLN(ByVal Cost As Double, ByVal Salvage As Double, _
                                    ByVal Life As Double) As Double
            If Life = 0 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'Life' cannot be zero.")
            End If

            Return ((Cost - Salvage) / Life)
        End Function

        Public Shared Function SYD(ByVal Cost As Double, ByVal Salvage As Double, _
                                    ByVal Life As Double, ByVal Period As Double) As Double
            If Salvage < 0 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'Salvage' must be greater than or equal to zero.")
            End If
            If Period > Life Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'Period' must be less than or equal to argument 'Life'.")
            End If
            If Period <= 0 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'Period' must be greater than zero.")
            End If
            Return ((Cost - Salvage) * (Life - Period + 1) * 2 / Life) / (Life + 1)
        End Function

        Public Shared Function FV(ByVal Rate As Double, ByVal NPer As Double, ByVal Pmt As Double, _
                                    Optional ByVal PV As Double = 0, Optional ByVal Due As DueDate = DueDate.EndOfPeriod) As Double

            If NPer < 0 Then
                If Due = DueDate.EndOfPeriod Then
                    Due = DueDate.BegOfPeriod
                Else
                    Due = DueDate.EndOfPeriod
                End If
                Return FV(1 / (1 + Rate) - 1, -NPer, -Pmt, PV, Due)
            End If

            If NPer = 0 Or Rate = 0 Then
                Return -(PV + Pmt * NPer)
            End If

            If Due = DueDate.BegOfPeriod Then
                Pmt = Pmt * (1 + Rate)
            End If

            Dim ExpRate As Double = (1 + Rate) ^ NPer
            Return -(PV * ExpRate + Pmt * (ExpRate - 1) / Rate)

        End Function

        Public Shared Function Rate(ByVal NPer As Double, ByVal Pmt As Double, ByVal PV As Double, _
                                    Optional ByVal FV As Double = 0, Optional ByVal Due As DueDate = DueDate.EndOfPeriod, _
                                    Optional ByVal Guess As Double = 0.1) As Double
            Throw New NotImplementedException
        End Function

        Public Shared Function IRR(ByRef ValueArray() As Double, Optional ByVal Guess As Double = 0.1) As Double
            Throw New NotImplementedException
        End Function

        Public Shared Function MIRR(ByRef ValueArray() As Double, ByVal FinanceRate As Double, _
                                    ByVal ReinvestRate As Double) As Double

            If FinanceRate <= -1 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'FinanceRate' is not a valid value.")
            End If
            If ReinvestRate <= -1 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'ReinvestRate' is not a valid value.")
            End If

            Dim pnpv1 As Double = PNPV(ValueArray, ReinvestRate)
            Dim nnpv1 As Double = NNPV(ValueArray, FinanceRate)

            Dim n As Integer = ValueArray.Length
            Dim intermediate As Double = (-pnpv1 * (1 + ReinvestRate) ^ n) / (nnpv1 * (1 + FinanceRate))
            Dim result As Double = Math.Abs(intermediate) ^ (1 / (n - 1)) - 1

            If intermediate < 0 Then
                Return -result
            Else
                Return result
            End If

        End Function

        Private Shared Function PNPV(ByVal ValueArray() As Double, ByVal Rate As Double) As Double
            Dim result As Double = 0
            For i As Integer = 1 To ValueArray.Length
                Dim value As Double = ValueArray(i - 1)
                If value >= 0 Then
                    result = result + value / (1 + Rate) ^ i
                End If
            Next
            Return result
        End Function

        Private Shared Function NNPV(ByVal ValueArray() As Double, ByVal Rate As Double) As Double
            Dim result As Double = 0
            For i As Integer = 1 To ValueArray.Length
                Dim value As Double = ValueArray(i - 1)
                If value < 0 Then
                    result = result + value / (1 + Rate) ^ i
                End If
            Next
            Return result
        End Function

        Public Shared Function NPer(ByVal Rate As Double, ByVal Pmt As Double, ByVal PV As Double, _
                                    Optional ByVal FV As Double = 0, Optional ByVal Due As DueDate = DueDate.EndOfPeriod) As Double


            If Rate = -1 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'Rate' is not a valid value.")
            End If
            If Pmt = 0 Then
                If Rate = 0 Then
                    Throw New ArgumentException("Argument 'Pmt' is not a valid value.")
                Else
                    Throw New ArgumentException("Cannot calculate number of periods using the arguments provided.")
                End If
            End If
            Dim iDue As Integer = Due
            Dim tmp As Double = (Pmt * (1D + Rate * iDue)) / Rate
            Dim ret As Double = Math.Log((tmp - FV) / (tmp + PV)) / Math.Log(1D + Rate)
            Return ret
            'If Rate = -1 Then
            '    Throw New ArgumentException("Argument 'Rate' is not a valid value.")
            'End If
            'If Pmt = 0 Then
            '    If Rate = 0 Then
            '        Throw New ArgumentException("Argument 'Pmt' is not a valid value.")
            '    Else
            '        Throw New ArgumentException("Cannot calculate number of periods using the arguments provided.")
            '    End If
            'End If

            'Dim current As Double = 0
            '' FIXME : what is the meaning of double period value ?
            'Dim pperiod As Integer = 0
            'Dim fperiod As Integer = 0
            'Dim apmt As Double = Math.Abs(Pmt)

            'If PV <> 0 Then
            '    If PV * Pmt < 0 Then
            '        current = Math.Abs(PV)
            '        If Due = DueDate.BegOfPeriod Then
            '            current = current - current * Rate
            '        End If
            '        While current > 0
            '            current = current + current * Rate
            '            current = current + apmt
            '            pperiod = pperiod + 1
            '        End While
            '    Else
            '        current = apmt
            '        If Due = DueDate.BegOfPeriod Then
            '            PV = PV * (1 + Rate)
            '        End If
            '        While current < Math.Abs(PV)
            '            current = current + current * Rate
            '            current = current + apmt
            '            pperiod = pperiod - 1
            '        End While
            '    End If
            'End If

            'If FV <> 0 Then
            '    If FV * Pmt < 0 Then
            '        current = apmt
            '        If Due = DueDate.EndOfPeriod Then
            '            current = 0
            '        End If
            '        While current < Math.Abs(FV)
            '            current = current + current * Rate
            '            current = current + apmt
            '            fperiod = fperiod + 1
            '        End While
            '    Else
            '        fperiod = 1
            '        current = Math.Abs(FV)
            '        If Due = DueDate.BegOfPeriod Then
            '            current = current - current * Rate
            '        End If
            '        While current > 0
            '            current = current + current * Rate
            '            current = current - apmt
            '            fperiod = fperiod - 1
            '        End While
            '    End If
            'End If
            'Return pperiod + fperiod
        End Function

        Public Shared Function IPmt(ByVal Rate As Double, ByVal Per As Double, ByVal NPer As Double, _
                                    ByVal PV As Double, Optional ByVal FV As Double = 0, _
                                    Optional ByVal Due As DueDate = DueDate.EndOfPeriod) As Double

            If Per <= 0 Or Per > NPer Or NPer < 0 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'Per' is not a valid value.")
            End If

            If Per = 1 AndAlso Due = DueDate.BegOfPeriod Then
                Return 0 ' The formula below doesn't cover this special case
            End If

            Dim Pmt As Double = Financial.Pmt(Rate, NPer, PV, FV, Due)
            Dim PreviousPV As Double = Financial.FV(Rate, Per - 1, Pmt, PV, Due)
            If Due = DueDate.BegOfPeriod Then
                PreviousPV = PreviousPV / (1 + Rate)
            End If
            Return PreviousPV * Rate

        End Function

        Public Shared Function Pmt(ByVal Rate As Double, ByVal NPer As Double, ByVal PV As Double, _
                                   Optional ByVal FV As Double = 0, _
                                   Optional ByVal Due As DueDate = DueDate.EndOfPeriod) As Double

            If NPer = 0 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'NPer' is not a valid value.")
            End If

            If NPer < 0 Then
                Return -Pmt(Rate, -NPer, FV, PV, Due)
            End If

            If Rate = 0 Then
                Return -(PV + FV) / NPer
            End If

            Dim ExpRate As Double = (1 + Rate) ^ NPer
            Dim dfpv As Double = (1 - 1 / ExpRate) / Rate
            Dim dffv As Double = (ExpRate - 1) / Rate

            If Due = DueDate.BegOfPeriod Then
                dffv = dffv * (1 + Rate)
                dfpv = dfpv * (1 + Rate)
            End If

            Return -(PV / dfpv + FV / dffv)

        End Function

        Public Shared Function PPmt(ByVal Rate As Double, ByVal Per As Double, ByVal NPer As Double, _
                                    ByVal PV As Double, Optional ByVal FV As Double = 0, _
                                    Optional ByVal Due As DueDate = DueDate.EndOfPeriod) As Double

            Return Pmt(Rate, NPer, PV, FV, Due) - IPmt(Rate, Per, NPer, PV, FV, Due)
        End Function

        Public Shared Function NPV(ByVal Rate As Double, ByRef ValueArray() As Double) As Double

            If ValueArray Is Nothing Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'ValueArray' is Nothing.")
            End If
            If Rate = -1 Then
                Throw New ArgumentException("Argument 'Rate' is not a valid value.")
            End If

            Dim result As Double = 0
            For i As Integer = 1 To ValueArray.Length
                result = result + (ValueArray(i - 1) / ((1 + Rate) ^ i))
            Next
            Return result

        End Function

        Public Shared Function PV(ByVal Rate As Double, ByVal NPer As Double, ByVal Pmt As Double, _
                                    Optional ByVal FV As Double = 0, _
                                    Optional ByVal Due As DueDate = DueDate.EndOfPeriod) As Double
            Dim result As Double = 0
            Dim d As Double = (1 + Rate) ^ NPer
            Dim n As Double
            If Due = DueDate.EndOfPeriod Then
                n = -FV - Pmt * (d - 1) / Rate
            Else
                n = -FV - Pmt * (1 + Rate) * (d - 1) / Rate
            End If
            result = n / d
            Return result
        End Function

        Public Shared Function LikeYet() As String
            Return "Fuck"
        End Function
    End Class
End Namespace

แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-04 12:07:01 By : love9713
 


 

No. 18

Guest


จาก #NO 12

สิ่งที่ควรจะรู้ เพิ่มเติม ปี ค.ศ. xxxx มีกี่วัน

xxxx
Code (SQL)
SELECT DATEPART(dy, CAST(YEAR('2012-02-28') AS CHAR(4)) + '-12-31') AS DaysOfYear /* 366 วัน*/


ผลพลอยได้จาก xxxx คือ [color=red]IsLeapYear[/color]

Code (SQL)
SELECT CASE DATEPART(dy, CAST(YEAR(2012-02-28) AS char(4)) + '-12-31') WHEN 366 THEN 'true' ELSE 'false' END
/*true*/

แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-04 12:14:24 By : love9713
 


 

No. 19

Guest


แก้ไข #NO 18 IsLeapYear
YEAR(2012-02-28) แก้ไขเป็น YEAR('2012-02-28')
Code (SQL)
SELECT CASE DATEPART(dy, CAST(YEAR('2012-02-28') AS char(4)) + '-12-31') WHEN 366 THEN 'true' ELSE 'false' END
/*true*/

แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-04 12:25:00 By : love9713
 


 

No. 20

Guest


จาก #NO 17 บรรทัดที่ 344 - 346 ผมไม่ได้มั่ว (แต่ผมต้องการสื่อถึงอะไรบางอย่าง/มันมีความหมายซ่อนอยู่ในนั้น)
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-04 12:42:39 By : love9713
 


 

No. 21

Guest


วันนี้เป็นวันมงคล ผมยกตัวอย่างจริงจากโปรแกรม Express ให้ดูเพื่อเป็นวิทยาทาน
http://www.esg.co.th/esg/index.php?fi=no&page=articles&lev=2&ct=114&lang=th

โจทย์
Code
กรณีคิดค่าเสื่อมรายเดือน ถ้าเป็นกรณีที่คำนวณค่าเสื่อมราคาเป็นรายเดือน แล้ววันที่ซื้อหรือวันที่เริ่มคำนวณค่าเสื่อม อยู่ระหว่างเดือน (คือ ไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคาทั้งเดือน) โปรแกรมจะคำนวณโดยใช้สูตรการคำนวณดังนี้ (ราคาซื้อ - ราคาซาก) * %อัตราค่าเสื่อม / จำนวนวันทั้งหมดในปีนั้น * จำนวนวันในเดือนที่คิดค่าเสื่อมราคานั้น ตัวอย่าง เช่น ซื้อคอมพิวเตอร์ วันที่ 15/01/50 เริ่มใช้วันที่ 15/01/50 ราคา 25,000 บาท ราคาซาก 0 บาท อายุการใช้งาน 5 ปี อัตรา 20% ดังรูป ต้นฉบับ (ราคาซาก 1 บาท) ข้อสังเกตุ ปีถัดไปมี 366 วัน (พ.ศ. 2551 IsLeapYear)



คำสั่ง MSSQL Query
express_depre01

ผลลัพธ์
express_depre02
...
...
...
express_depre03
...
...
...
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-05 09:22:57 By : love9713
 


 

No. 22

Guest


@ipcc & nung เดี๋ยวพวกคุณงง
คำสั่ง CROSS APPLY = INNER JOIN นั่นแหละครับ แต่มีข้อแตกต่างเล็กฯน้อยดังนี้

CROSS APPLY สามารถเลือก TOP N Per Group ได้ แต่ INNER JOIN มันเอามาทั้งหมด
จากตัวอย่างด้านบนผมเลือกมา 1 ระเบียน (ฝากค่าเอาไว้ในตัวแปรนั่นแหละครับ)
CROSS APPLY สามารถอ้างถึง Alias(สมนาม) ได้ เช่น var00, var01, .. เป็นต้น แต่ INNER JOIN มันทำไม่ได้

@ nung ในกรณีของคุณก็แค่หาจำนวนเดือนให้ได้ x 31 วัน เอาไปใส่ใน Query ด้านบนก็จบแล้วครับ

คนจะเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีได้นั้น ต้องมีความพยายาม ถ้าขาดสิ่งนี้แล้วไซร์มันก็เป็นได้แค่คนคนหนึ่งเท่านั้นเอง


Good Luck.
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-05 09:48:14 By : love9713
 


 

No. 23



โพสกระทู้ ( 1,569 )
บทความ ( 2 )



สถานะออฟไลน์
Twitter Facebook Blogger

ตอบความคิดเห็นที่ : 21 เขียนโดย : love9713 เมื่อวันที่ 2014-05-05 09:22:57
รายละเอียดของการตอบ ::
ดีที่ผมลง extension OCR ไว้ เลยคัดลอกคำสั่งได้ :P
ขอบคุณสำหรับความรู้ใหม่ครับ

แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-05 11:00:30 By : itpcc
 


 

No. 24

Guest


จาก #NO 22 ขยายความ CROSS APPLY ฉบับโปรแกรมเมอร์คุยกับโปรแกรมเมอร์

Code (SQL)
SELECT * 
FROM (VALUES ('email1', 'eha1'), ('email2', 'eha2'), ('email3', 'eha3')) AS AliasTableName (AliasFieldName1, AliasFieldName2)


ผลลัพธ์
cr01


Code (SQL)
SELECT * FROM (SELECT Id,
                      Foo,
                      Bar
FROM (VALUES ('Id0', 'Foo0', 'Bar0')) AS AliasTableNameX (Id, Foo, Bar)) AS X
CROSS APPLY  
              (SELECT *
                    FROM (VALUES('Id1', 'Foo1', 'Bar1'),
                                ('Id2', 'Foo2', 'Bar2'),
                                ('Id3', 'Foo3', 'Bar3')) AS AliasTableNameY(Id, Foo, Bar)) AS Y


ผลลัพธ์
cr02
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-05 11:04:45 By : love9713
 


 

No. 25

Guest


จาก #NO 24 อันนี้คือข้อแตกต่างระหว่าง CROSS APPLY และ INNER JOIN

Code (SQL)
SELECT * FROM (SELECT Id,
                      Foo,
                      Bar
FROM (VALUES ('Id0', 'Foo0', 'Bar0')) AS AliasTableNameX (Id, Foo, Bar)) AS X
CROSS APPLY  
              (SELECT TOP 1 *
                    FROM (VALUES('Id1', 'Foo1', 'Bar1'),
                                ('Id2', 'Foo2', 'Bar2'),
                                ('Id3', 'Foo3', 'Bar3')) AS AliasTableNameY(Id, Foo, Bar)) AS Y


ผลลัพธ์
cr03
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2014-05-05 11:09:06 By : love9713
 


 

No. 26



โพสกระทู้ ( 0 )
บทความ ( 0 )



สถานะออฟไลน์


อยากรู้โค้ด php อ่ะครับ
แสดงความคิดเห็นโดยอ้างถึง ความคิดเห็นนี้
Date : 2016-12-11 15:30:45 By : pudjaza0014
 

   

ค้นหาข้อมูล


   
 

แสดงความคิดเห็น
Re : รบกวนสอบถามผู้รู้เกี่ยวกับการคิดค่าเสื่อมครุภัณฑ์แบบเส้นตรงค่ะ ต้องเขียนโค้ดยังไงค่า
 
 
รายละเอียด
 
ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ ตัวมีขีดกลาง| ตัวเรืองแสง ตัวมีเงา ตัวอักษรวิ่ง| จัดย่อหน้าอิสระ จัดย่อหน้าชิดซ้าย จัดย่อหน้ากึ่งกลาง จัดย่อหน้าชิดขวา| เส้นขวาง| ขนาดตัวอักษร แบบตัวอักษร
ใส่แฟลช ใส่รูป ใส่ไฮเปอร์ลิ้งค์ ใส่อีเมล์ ใส่ลิ้งค์ FTP| ใส่แถวของตาราง ใส่คอลัมน์ตาราง| ตัวยก ตัวห้อย ตัวพิมพ์ดีด| ใส่โค้ด ใส่การอ้างถึงคำพูด| ใส่ลีสต์
smiley for :lol: smiley for :ken: smiley for :D smiley for :) smiley for ;) smiley for :eek: smiley for :geek: smiley for :roll: smiley for :erm: smiley for :cool: smiley for :blank: smiley for :idea: smiley for :ehh: smiley for :aargh: smiley for :evil:
Insert PHP Code
Insert ASP Code
Insert VB.NET Code Insert C#.NET Code Insert JavaScript Code Insert C#.NET Code
Insert Java Code
Insert Android Code
Insert Objective-C Code
Insert XML Code
Insert SQL Code
Insert Code
เพื่อความเรียบร้อยของข้อความ ควรจัดรูปแบบให้พอดีกับขนาดของหน้าจอ เพื่อง่ายต่อการอ่านและสบายตา และตรวจสอบภาษาไทยให้ถูกต้อง

อัพโหลดแทรกรูปภาพ

Notice

เพื่อความปลอดภัยของเว็บบอร์ด ไม่อนุญาติให้แทรก แท็ก [img]....[/img] โดยการอัพโหลดไฟล์รูปจากที่อื่น เช่นเว็บไซต์ ฟรีอัพโหลดต่าง ๆ
อัพโหลดแทรกรูปภาพ ให้ใช้บริการอัพโหลดไฟล์ของไทยครีเอท และตัดรูปภาพให้พอดีกับสกรีน เพื่อความโหลดเร็วและไฟล์ไม่ถูกลบทิ้ง

   
  เพื่อความปลอดภัยและการตรวจสอบ กระทู้ที่แทรกไฟล์อัพโหลดไฟล์จากที่อื่น อาจจะถูกลบทิ้ง
 
โดย
อีเมล์
บวกค่าให้ถูก
<= ตัวเลขฮินดูอารบิก เช่น 123 (หรือล็อกอินเข้าระบบสมาชิกเพื่อไม่ต้องกรอก)







Exchange: นำเข้าสินค้าจากจีน, Taobao, เฟอร์นิเจอร์, ของพรีเมี่ยม, ร่ม, ปากกา, power bank, แฟลชไดร์ฟ, กระบอกน้ำ

Load balance : Server 03
ThaiCreate.Com Logo
© www.ThaiCreate.Com. 2003-2024 All Rights Reserved.
ไทยครีเอทบริการ จัดทำดูแลแก้ไข Web Application ทุกรูปแบบ (PHP, .Net Application, VB.Net, C#)
[Conditions Privacy Statement] ติดต่อโฆษณา 081-987-6107 อัตราราคา คลิกที่นี่