Register Register Member Login Member Login Member Login Forgot Password ??
PHP , ASP , ASP.NET, VB.NET, C#, Java , jQuery , Android , iOS , Windows Phone
 

Registered : 109,038

HOME > Windows Azure > Windows Azure (Storage) and Java Application > ตอนที่ 7 : รู้จักกับ Table Storage Service และการเขียนร่วมกับภาษา Java Application



Clound SSD Virtual Server

ตอนที่ 7 : รู้จักกับ Table Storage Service และการเขียนร่วมกับภาษา Java Application

ตอนที่ 7 : รู้จักกับ Table Storage Service และการเขียนร่วมกับภาษา Java Application สำหรับ Table Service บน Storage ของ Windows Azure เป็นบริการภายใต้ Storage ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลโครงสร้างแบบตาราง entity แบบ Database NoSQL โดย Table Service เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการจัดเก็บโครงสร้างข้อมูลที่ไม่ใช่เชิงสัมพันธ์ (non-relational data.) และ ความต้องการจัดเก็บข้อมูลทั่ว ๆ ไป ที่ทำงานบน Internet ความเร็วสูง เรียกใช้งานได้ทุกที่ สามารถ อ่าน-เขียน ได้อย่างรวดเร็ว ของภายใต้การประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ Cloud ของ Windows Azure โดยการเรียกใช้งาน Table ด้วยกระบวนการทำงานแบบ Cloud จะสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว แม้ว่าปริมาณข้อมูลจะถูกเก็บมากแค่ไหนก็ตาม และในบทความนี้จะเป็นตัวอย่างการเขียน Java (JSP) เพื่อติดต่อกับ Table Services อาทิเช่น การ Insert ข้อมูล , การ Read ข้อมูล , การ Update ข้อมูล และการ Delete ข้อมูล ใช้รูปแบบการเขียน Java แบบ JSP Web Application และก่อนการเขียนจะต้องติดตั้ง Java SDK กับโปรแกรม Eclispe / Apache Tomcat ให้เรียบร้อยก่อน โดยสามารถอ่านได้จากบทความก่อนหน้านี้

Azure Table Storage Service

Azure Table Storage Service


ตอนที่ 2 : Config Eclipse กับ Apache Tomcat ไว้เขียน JSP กับ Windows Azure


ข้อมูลที่จัดเก็บใน Table Service จะสามารถเรียกใช้งานได้จากหลากหลาย Application ไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็น Java เท่านั้น เพราะใน Windows Azure เองก็ได้ก็ได้ออกแบบ SDK ที่รองรับหลาย ๆ ภาษา เช่น .Net , Java , PHP และอื่น ๆ รวมทั้งในอนาคตเร็ว ๆ นี้จะมี SDK ที่รองรับการเขียนบน Mobile อาทิพวก Android , iOS และ Windows Phone อย่างแน่นอน

กลับมายังหน้า Storage บน Portal Management ของ Windows Azure

Azure Table Storage Service

ให้คลิกที่ Manage Access Key เพื่อจะเอา Key ไปใช้งาน

Azure Table Storage Service

เราจะได้ Key นี้ไว้ใช้งานและเชื่อมต่อกับ Storage หลังจากนั้นเราจะเขียน Java (JSP) เพื่อติดต่อกับ Table








กลับมายัง Project บน Eclipse

Azure Table Storage Service

Windows Azure Libraries for Java

ให้ Download ไฟล์ Jar Library สำหรับ Windows Azure มาใช้

Azure Table Storage Service

ให้นำไฟล์ไปไว้ใน Project ของ JSP โดยจัดเก็บไว้ที่ WEB-INF/lib

Azure Table Storage Service

จากนั้นให้คลิกควาที่ Project -> Properties

Azure Table Storage Service

เลือก Java Build Path -> Add JARs

Azure Table Storage Service

เลือก Library ที่ได้ Copy ไว้ก่อนหน้านี้

Azure Table Storage Service

เลือก OK

Azure Table Storage Service

ตอนนี้ Library ได้ถูกเพิ่มเข้ามาใน Project เรียบร้อยแล้ว จากนั้นเราจะทดสอบการเขียน JSP แบบง่าย ๆ ซึ่งจะเป็นตัวอย่างการสร้าง Tableไว้สำหรับการจัดเก็บข้อมูล

การเชื่อมต่อ Java กับ Table Storage บน Windows Azure

Import Library
import com.microsoft.windowsazure.services.core.storage.*;
import com.microsoft.windowsazure.services.table.client.*;
import com.microsoft.windowsazure.services.table.client.TableQuery.*;


สร้าง Connection String ใส่ Account และ Key ให้ถูกต้อง
public static final String storageConnectionString = 
    "DefaultEndpointsProtocol=http;" + 
    "AccountName=[yourAccount];" + 
    "AccountKey=[yourKey]";

String storageConnectionString = 
    RoleEnvironment.getConfigurationSettings().get("StorageConnectionString");


โดยขั้นแรกเราจะต้องทำการสร้างชื่อตาราง Table ให้สำหรับการจัดเก็บข้อมูลซะก่อน

<%@ page import="com.microsoft.windowsazure.services.core.storage.*" %>
<%@ page import="com.microsoft.windowsazure.services.table.client.*" %>
<%@ page import="com.microsoft.windowsazure.services.table.client.TableQuery.*" %>

<html>
<head>
	<title>ThaiCreate.Com Azure Tutorial</title>
</head>
<body>
	<%
	
	String storageConnectionString = 
    "DefaultEndpointsProtocol=http;" + 
    "AccountName=[yourAccount];" + 
    "AccountKey=[yourKey]";
    
 	// Retrieve storage account from connection-string
    CloudStorageAccount storageAccount = CloudStorageAccount.parse(storageConnectionString);

 	// Create the table client.
    CloudTableClient tableClient = storageAccount.createCloudTableClient();

    // Create the table if it doesn't exist.
    String tableName = "customer";
    tableClient.createTableIfNotExists(tableName);
    
    out.print("Storage Table 'customer' has been created.");
    
	%>
</body>
</html>

ใน Code นี้จะสร้างตารางชื่อว่า customer (จาก Code อย่าลืมแก้ไข Account และ Key ให้ถูกด้วย)

Azure Table Storage Service

ทดสอบ Run โปรแกรม

Azure Table Storage Service

เมื่อใช้ Azure Storage Explorer เราจะพบกับตารางที่เราสร้างขึ้น

หลังจากที่ได้ Table แล้ว ต่อไปเราก็จะใช้ Java (JSP) ทำการ Insert/Read/Update/Delete ข้อมูล entity ต่าง ๆ ได้ตามต้องการ โดยสามารถอ่านได้จากบทความถัดไป

บทความที่เกี่ยวข้อง









บทความถัดไปที่แนะนำให้อ่าน


   
Share


ช่วยกันสนับสนุนรักษาเว็บไซต์ความรู้แห่งนี้ไว้ด้วยการสนับสนุน Source Code 2.0 ของทีมงานไทยครีเอท


ลองใช้ค้นหาข้อมูล


   


Bookmark.   
       
  By : ThaiCreate.Com Team (บทความเป็นลิขสิทธิ์ของเว็บไทยครีเอทห้ามนำเผยแพร่ ณ เว็บไซต์อื่น ๆ)
  Score Rating :  
  Create/Update Date : 2013-11-30 08:27:44 / 2017-03-24 14:16:28
  Download : No files
 Sponsored Links / Related

 
ตอนที่ 1 : รู้จักกับ Windows Azure และ Azure Java SDK สำหรับภาษา Java
Rating :

 
ตอนที่ 2 : Config Eclipse กับ Apache Tomcat ไว้เขียน JSP กับ Windows Azure
Rating :

 
ตอนที่ 3 : รู้จักกับ Blob Storage และการเขียนร่วมกับภาษา Azure for Java Application
Rating :

 
ตอนที่ 4 : How to use Java (JSP) Upload file to Blob การอัพโหลดไฟล์ลงใน Blob
Rating :

 
ตอนที่ 5 : How to use Java (JSP) List the Blobs การแสดงรายการไฟล์จาก Blob
Rating :

 
ตอนที่ 6 : How to use Java (JSP) Delete Blob การลบรายการไฟล์บน Blob
Rating :

 
ตอนที่ 8 : How to use Java (JSP) Add Entity to a Table Storage - บันทึกข้อมูลลงตาราง
Rating :

 
ตอนที่ 9 : How to use Java (JSP) Retrieve Entity from Table Storage - อ่านข้อมูลในตาราง
Rating :

 
ตอนที่ 10 : How to use Java (JSP) Update Entity in Table Storage - แก้ไขข้อมูลในตาราง
Rating :

 
ตอนที่ 11 : How to use Java (JSP) Delete Entity in Table Storage - ลบข้อมูลในตาราง
Rating :

 
ตอนที่ 12 : รู้จักกับ Queue Storage และการเขียนร่วมกับภาษา Java Application
Rating :

 
ตอนที่ 13 : How to use Java (JSP) Create a message Queue - สร้างคิวใหม่
Rating :

 
ตอนที่ 14 : How to use Java (JSP) Peek at the next message - อ่านคิวถัดไป
Rating :

 
ตอนที่ 15 : How to use Java (JSP) De-queue the next messag - ขยับไปยังคิวถัดไป
Rating :


ThaiCreate.Com Forum


Comunity Forum Free Web Script
Jobs Freelance Free Uploads
Free Web Hosting Free Tools

สอน PHP ผ่าน Youtube ฟรี
สอน Android การเขียนโปรแกรม Android
สอน Windows Phone การเขียนโปรแกรม Windows Phone 7 และ 8
สอน iOS การเขียนโปรแกรม iPhone, iPad
สอน Java การเขียนโปรแกรม ภาษา Java
สอน Java GUI การเขียนโปรแกรม ภาษา Java GUI
สอน JSP การเขียนโปรแกรม ภาษา Java
สอน jQuery การเขียนโปรแกรม ภาษา jQuery
สอน .Net การเขียนโปรแกรม ภาษา .Net
Free Tutorial
สอน Google Maps Api
สอน Windows Service
สอน Entity Framework
สอน Android
สอน Java เขียน Java
Java GUI Swing
สอน JSP (Web App)
iOS (iPhone,iPad)
Windows Phone
Windows Azure
Windows Store
Laravel Framework
Yii PHP Framework
สอน jQuery
สอน jQuery กับ Ajax
สอน PHP OOP (Vdo)
Ajax Tutorials
SQL Tutorials
สอน SQL (Part 2)
JavaScript Tutorial
Javascript Tips
VBScript Tutorial
VBScript Validation
Microsoft Access
MySQL Tutorials
-- Stored Procedure
MariaDB Database
SQL Server Tutorial
SQL Server 2005
SQL Server 2008
SQL Server 2012
-- Stored Procedure
Oracle Database
-- Stored Procedure
SVN (Subversion)
แนวทางการทำ SEO
ปรับแต่งเว็บให้โหลดเร็ว


Hit Link
   







Load balance : Server 05
ThaiCreate.Com Logo
© www.ThaiCreate.Com. 2003-2025 All Rights Reserved.
ไทยครีเอทบริการ จัดทำดูแลแก้ไข Web Application ทุกรูปแบบ (PHP, .Net Application, VB.Net, C#)
[Conditions Privacy Statement] ติดต่อโฆษณา 081-987-6107 อัตราราคา คลิกที่นี่